วันอาทิตย์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วรรณยุกต์

นักเรียนจะผันวรรณยุกต์ได้ดีหากนักเรียนจำอักษรไทยทั้ง 44 ตัวได้ จำอักษร 3 หมู่
และมีความเข้าใจเรื่องคำเป็นคำตาย นักเรียนสามารถนำความรู้ทั้ง 3 มาเป็นกฏเกณฑ์
ในการผันวรรณยุกต์ได้เป็นอย่างดี จงสังเกตตัวอย่างต่อไปนี้


อักษรไทย มี 44 ตัว คือ
อักษรกลาง
9 ตัว
อักษรสูง
11 ตัว
ต่ำคู่ มีเสียงคู่
อักษรสูง 14 ตัว
ต่ำเดี่ยว
(ไร้คู่)
10 ตัว
1.ไก่ 1.ผี 1พ 2 ภ1. งู
2.จิก 2.ฝาก 3 ฟ2. ใหญ่
3.เด็ก 3-4ถุง ถ ฐ4 ฑ 5ฒ 6 ท 7ธ3.นอน
4.ตาย 5-6. ข้าว ข ฃ8 ค 9 ฅ 10 ฆ4. อยู่
5.เด็ก 7-9 สาร ศ ษ ส11 ซ5.
6.ตาย 10 ให้ 12 ฮ6. ริม
7.บน 11 ฉัน 13 ช 14 ฌ7. วัด
8.ปาก อักษรสูง กับอักษรต่ำคู่ันวรรณยุกต์
ร่วมกันจะได้เสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
8. โม

9.โอ่ง9. ฬี
อักษรกลางคำเป็นผันวรรณยุกต์ได้ครบทั้ง 5 เสียง10 โลก




อักษร ๓ หมู่ (ไตรยางค์)เสียง สามัญเสียงเอกเสียงโทเสียงตรีเสียงจัตวาหมายเหตุ
อักษรกลาง
ก จ ด ฎตฏ บ ป อ
คำเป็น
คำตาย


ปา


ป่า
กัด


ป้า
กั้ด


ป๊า
กั๊ด


ป๋า
กั๋ด
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรสูง
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
คำเป็น
คำตาย



-
-

ข่า
ขัด

ข้า
ขั้ด

-
-

ขา
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงจัตวา
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรต่ำ
(อักษรที่เหลือ ๒๔ ตัว)
คำเป็น
คำตายเสียงยาว
คำตายเสียงสั้น


คา
-
-


-
-
-


ค่า
คาด
ค่ะ


ค้า
ค้าด
คะ

-
-
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ หากผัน
ร่วมกับอักษรสูงจะผัน
ได้ครบ ๕ เสียง เช่น
คา ข่า ค่า(ข้า) ค้า ขา
ฟรี Counter
ไตรยางค คือ อักษร 3 หมู่ ซึ่งจัดแบ่งพยัญชนะไทย 44 ตัว โดยยึดเอาพื้นเสียงของพยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์เป็นเกณฑ์

อักษรไทย มี 44 ตัว คือ

อักษรกลาง หมายถึง พยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์ แล้วมีเสียงอยู่ในระดับกลาง  มีทั้งหมด 9 ตัว น้อง ๆ คงจะเคยได้ยินเรื่องเล่าต่อกันมานะครับ ว่า "ไก่จิกเด็กตาย  เด็กตายบนปากโอ่ง"
      วิธีจำง่าย ๆ ครับ
ไก่
จิก
เด็ก
ตาย
เด็ก
ตาย
บน
ปาก
โอ่ง
อักษรสูง หมายถึง พยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์ แล้วมีเสียงอยู่ในระดับสูง มีทั้งหมด 11 ตัว
      วิธีจำง่าย ๆ ครับ
ผี
ฝาก
ถุง
ขาว
สาร
ให้
ฉัน
อักษรต่ำ หมายถึง พยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์ แล้วมีเสียงอยู่ในระดับต่ำ  มีทั้งหมด 24 ตัว
ต่ำคู่ มีเสียงคู่
อักษรสูง 14 ตัว

 อักษรต่ำ หมายถึง พยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์ แล้วมีเสียงอยู่ในระดับต่ำ  มีทั้งหมด 24 ตัว
 ต่ำเดี่ยว(ไร้คู่) 10 ตัว
"งูใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวัด โมฬิโลก"
งู
ใหญ่
นอน
อยู่
ริม
วัด
โม
ฬี
โลก



สระ

ระ คือ เสียงที่เปล่งออกจากลำคอโดยตรง โดยมีริมฝีปากหรือลิ้นกระทบอวัยวะในปากเป็นเครื่องช่วยให้เกิดเสียงด้วย
สระในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
รูปสระ และเสียงสระ


   รูปสระมี  21  รูป  และมีชื่อเรียกต่าง ๆ ดังนี้


รูปสระชื่อรูปสระชื่อ
1.ะวิสรรชนีย์12.ใไม้ม้วน
2.อัไม้หันอากาศ13.ไไม้มลาย
3.อ็ไม้ไต่คู้14.โไม้โอ
4.าลากข้าง15.อตัว ออ
5.อิพินทุ์อิ16.ยตัว ยอ
6.'ฝนทอง17.วตัว วอ
7.อํนิคหิตหรือหยาดน้ำค้าง18.ฤตัว รึ
8."ฟันหนู18.ฤๅตัว รือ
9.อุตีนเหยียด20.ฦตัว ลึ
10.อูตีนคู้21.ฦๅตัวลือ
11.เไม้หน้า
 
เสียงสระ เมื่อนำรูปสระทั้ง 21 รูป มารวมกัน จะได้สระทั้งหมด 32 เสียง จำแนกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
สระแท้ มี 18 เสียง แบ่งออกเป็น
สระเสียงสั้น ได้แก่ 
อะ
อิ
อึ
อึ
เอะ
เออะ
โอะ
แอะ
เอาะ
สระเสียงยาว ได้แก่
อา
อี
อื
อู
เอ
เออ
โอ
แอ
ออ
สระประสม มี 6 เสียง ได้แก่
     เอีย      เกิดจากเสียง         - + -า         เอีย เอียะ     เกิดจากเสียง         -ิ  +  -ะ       เอียะ เอือ       เกิดจากเสียง         -ื  +  -า       เอือ เอือะ     เกิดจากเสียง         -ึ  +  -า       เอือะ อัว        เกิดจากเสียง         -ู  + -า        อัว  อัวะ     เกิดจากเสียง         -ุ  +  -ะ        อัวะ
สระลอย  มี  8  เสียง  ได้แก่
ฤา
ฦา
อำ
ไอ
ใอ
เอา

วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

The Legend of MuayThai


Famous Muay Thai Boxers

Phraya Phichai

Muay Thai is a national sport of Thailand as well as a national passion. Known as the science of eight limbs Muay Thai kickboxing uses the knees and elbows as well as kicks and punches.
Phraya Phichai
Phraya Phichai (th: พระยาพิชัย), or popularly known as Phraya Phichai Dap Hak (th:พระยาพิชัยดาบหัก; Phraya Phichai of the broken sword) (born: 1741 at Ban Huai Kha,Amphoe Phichai, Changwat Uttaradit; died: unknown) was a historic Thai nobleman inAyutthaya Period who fought the battles with two swords in both hands until one of which was broken

Phraya Phichai was a Siamese general serving under King Taksin. After the fall ofAyudhya in 1767, Phraya Pichai and Chao Phraya Chakri (who later become the first King of Chakri Dynasty) followed Phraya Taksin in repelling the Burmese and reuniting Siam. They were considered Phraya Taksin's left and right hands.
In 1782, King Taksin showed signs of mental illness. At that time, the nation still lacked stability and was in need of a strong ruler. A coup executed King Taksin, then the throne was offered to Chao Phraya Chakri. Phraya Pichai, a devout follower of King Taksin, was not spared, and by most account, requested for his own execution to follow King Taksin to his death. He was executed soon after.
He gained the name 'Phraya Phichai Dabhak' or 'Phraya Pichai Broken Sword' in a battle in which he kept fighting (and won) even after one of his blades was broken in half.
Birth
Phraya Phichai was born in 1741 at Ban Huai Kha, Amphoe Phichai, Changwat Uttaradit, having four brothers and sisters but three of them died before Phichai”s birth. His parents were unknown. His birthname was Choi (th: จ้อย; means: the little one).

Childhood


When Choi was a young boy, he loved to practice Thai boxing and would always be running away without his parents knowing, to train in the art. He trained with many teachers of that time.
One day, Choi left home northernwards and met with a boxing instructor named “Thiang” (th: เที่ยง) at Wat Ban Kaeng (th: วัดบ้านแก่ง). Choi then became a beloved student of Instructor Thiang and renamed as “Thong Di” (th: ทองดี), his instructor called him as “Mister Thong Di Fan Khao” (th: ทองดีฟันขาว; means: Thong Di whose teeth are white) as he did not chew betel nut. The Thai people loved chewing betel nut, which made their teeth black, since the ancient time until the Government under the premiership of Field Marshall Plaek Phibunsongkhramissued ban on chewing the nut in 1942.

Serving the Crown

One day, Phraya Tak was holding a boxing contest in the city of Tak during a traditional festival. Now a young man of twenty years, Thong Di asked the ring master to find him a match. The towns people having never seen the boxer before suggested that he take an opponent who had little experience so that it would make an exciting fight, but Thong Di insisted that he would fight the most skillful boxer in the town.
A famous boxing master of Tak, Arjarn Nai Hao, who nobody dared to challenge, gladly agreed to take the fight, knowing that those who had challenged the master before had been soundly and thoroughly beaten, why should this young upstart be any different? A huge crowd gathered to see the young boxer Thong Di fight the invincible Nai Hao.Throughout the bout Thong Di showed brilliant Thai boxing style.
Seeing a resounding victory over Nai Hao after witnessing such a formidable display, Phraya Tak showed no hesitation in asking Thong Di to join his army. On many occasions, Thong Di would display his talents in the Thai boxing ring before Phraya Tak (later to become King Taksin the great of Thonburi). His skill and bravery in the ring and the fact that no other boxer could defeat Thong Di, were very pleasing to Phraya Tak who appointed him to be his personal bodyguard.
The Emperor of China Kao Tsung, was alarmed by the military might of the Burmese. From 1766- 1769, the Emperor sent his armies four times to subdue the Burmese, but all four invasions failed. Siam was under the control of the Burmese since the sacking of Ayutthaya, but had to withdraw the bulk of its army from Siam to ward of the Chinese invasions, leaving behind only a small contingent. Phraya Tak taking advantage of the situation, organized his force and revolted.
Phraya Tak; At first was a guerrilla leader with only five hundred followers but within fifteen years his dominion was to embrace all of Siam. During the revolt Taksin managed to escape to Rayong on the East coast of Siam. Here with the help of Phraya Phichai, now his Commander-in-Chief, raised an army and declared all out war on Burma. The action was to eventually regain freedom for the Siamese people.
Phraya Phichai or (Thong Di), under the guidance of Phraya Tak and using guerrilla tactics, won back many small towns and villages from the Burmese. It was during one of the many battles, that Thong Di was to become famous. In 1773 an army under celebrated Burmese General Bo Supia was sent to capture the City of Phichai. Thong Di led the Thai army and fought him at Wat Aka and Phraya Sura Sri helped him battle the Burmese. The Burmese general was driven into retreat while sustaining great losses to his troops.