วันอาทิตย์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วรรณยุกต์

นักเรียนจะผันวรรณยุกต์ได้ดีหากนักเรียนจำอักษรไทยทั้ง 44 ตัวได้ จำอักษร 3 หมู่
และมีความเข้าใจเรื่องคำเป็นคำตาย นักเรียนสามารถนำความรู้ทั้ง 3 มาเป็นกฏเกณฑ์
ในการผันวรรณยุกต์ได้เป็นอย่างดี จงสังเกตตัวอย่างต่อไปนี้


อักษรไทย มี 44 ตัว คือ
อักษรกลาง
9 ตัว
อักษรสูง
11 ตัว
ต่ำคู่ มีเสียงคู่
อักษรสูง 14 ตัว
ต่ำเดี่ยว
(ไร้คู่)
10 ตัว
1.ไก่ 1.ผี 1พ 2 ภ1. งู
2.จิก 2.ฝาก 3 ฟ2. ใหญ่
3.เด็ก 3-4ถุง ถ ฐ4 ฑ 5ฒ 6 ท 7ธ3.นอน
4.ตาย 5-6. ข้าว ข ฃ8 ค 9 ฅ 10 ฆ4. อยู่
5.เด็ก 7-9 สาร ศ ษ ส11 ซ5.
6.ตาย 10 ให้ 12 ฮ6. ริม
7.บน 11 ฉัน 13 ช 14 ฌ7. วัด
8.ปาก อักษรสูง กับอักษรต่ำคู่ันวรรณยุกต์
ร่วมกันจะได้เสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
8. โม

9.โอ่ง9. ฬี
อักษรกลางคำเป็นผันวรรณยุกต์ได้ครบทั้ง 5 เสียง10 โลก




อักษร ๓ หมู่ (ไตรยางค์)เสียง สามัญเสียงเอกเสียงโทเสียงตรีเสียงจัตวาหมายเหตุ
อักษรกลาง
ก จ ด ฎตฏ บ ป อ
คำเป็น
คำตาย


ปา


ป่า
กัด


ป้า
กั้ด


ป๊า
กั๊ด


ป๋า
กั๋ด
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรสูง
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
คำเป็น
คำตาย



-
-

ข่า
ขัด

ข้า
ขั้ด

-
-

ขา
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงจัตวา
คำตายพื้นเสียงเป็น
เสียงเอก
อักษรต่ำ
(อักษรที่เหลือ ๒๔ ตัว)
คำเป็น
คำตายเสียงยาว
คำตายเสียงสั้น


คา
-
-


-
-
-


ค่า
คาด
ค่ะ


ค้า
ค้าด
คะ

-
-
-
คำเป็นพื้นเสียงเป็น
เสียงสามัญ หากผัน
ร่วมกับอักษรสูงจะผัน
ได้ครบ ๕ เสียง เช่น
คา ข่า ค่า(ข้า) ค้า ขา
ฟรี Counter

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น